[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
เมนูหลัก
Facebook
FacebookLink
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 4 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 22/ต.ค../2558
ผู้ใช้งานขณะนี้ 1 IP
ขณะนี้
1 คน
สถิติวันนี้
1 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
1 คน
สถิติเดือนนี้
16 คน
สถิติปีนี้
137 คน
สถิติทั้งหมด
222293 คน
IP ของท่านคือ 10.254.0.2
(Show/hide IP)
poll

   ระบุวัตถุประสงค์การดาวน์โหลดเอกสารท่านนำไปใช้งานด้านใด


  1. การวิจัย
  2. การเรียนการสอน
  3. การปฏิบัติงาน
  4. การเผยแพร่
  5. ความรู้ ความสนใจ
  6. การตัดสินใจเชิงนโยบาย
  7. การวางแผนธุรกิจ




  
รายการ Gallery หน้าหลัก    
>> 15 กุมภาพันธ์ 2560 ( 17/ก.พ./2560 )

     15 กุมภาพันธ์ 2560
ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า ที่ปรึกษาผู้บริหารระดับสูง วิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวต้อนรับคณะผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกำหนดกรอบการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตทุเรียนหลงลับแล-หลินลับแลในระบบวนเกษตรเพื่อความมั่นคงทางด้านเกษตรและอาหารของจังหวัดอุตรดิตถ์โดยมี ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วย หน่วยบูรณาการวิจัยและความร่วมมือเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)ร่วมด้วยหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มแกนนำเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิจัยและคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์จากคณะต่างๆ ที่สนใจในการนำองค์ความรู้จากภาควิชาการมาต่อยอดแบะปรับใช้เพื่อพัฒนางานวิจัย
ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวมีการสรุปภาพรวม และทวนสอบข้อมูล การดำเนินโครงการศึกษาและพัฒนาการจัดการธุรกิจเกษตรเพื่อลดความเสียเปรียบของเกษตรกรในกลไกตลาดข้าวอินทรีย์และทุเรียน    หลงลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์โดย  อาจารย์ปิยวรรณ  ปาลาศ  ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และการแบ่งกลุ่มปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย       กลุ่มที่ ๑ ระบบสารสนเทศทุเรียนหลงลับแล-หลินลับแลของจังหวัดอุตรดิตถ์ สำหรับการ จัดการระบบธุรกิจเกษตรเพื่อลดความเสียเปรียบในกลไกการตลาด และระบบพยากรณ์เพื่อการแจ้งเตือนภัยธรรมชาติของการผลิตในระบบวนเกษตร โดย  อาจารย์ ดร.รัชดา  คำจริง  และคณะกลุ่มที่ ๒ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการดิน น้ำ และป่า ของการผลิตทุเรียนหลงลับแล- หลินลับแลในระบบวนเกษตร เพื่อการพัฒนาความสมดุลของระบบผลิตภายใต้ข้อกำหนดของมาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) โดย อาจารย์ ดร.วิมลฉัตร สมนิยาม  และคณะกลุ่มที่ ๓ ประเมินและเปรียบเทียบผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ ทางสังคม และผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของรูปแบบการเกษตรในระบบวนเกษตรกับการผลิตการเกษตรรูปแบบอื่น เพื่อการจัดทำข้อเสนอและมาตรการทางกฎหมายและทางนโยบายโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนินท์  เครือไทย  และคณะ โดยผลจากการประชุมจะได้มีการวางแผนและขับเคลื่อนงานในระยะต่อไป การประชุมจัดขึ้น ณ ห้องประชุมสิริราชภัฏ ชั้น 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ภาพ/ข่าว : ศูนย์บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

  
โดย admin (VIEW : 102)
โดย admin (VIEW : 98)
โดย admin (VIEW : 98)
โดย admin (VIEW : 95)
โดย admin (VIEW : 103)
โดย admin (VIEW : 83)
โดย admin (VIEW : 70)
โดย admin (VIEW : 72)
โดย admin (VIEW : 87)
โดย admin (VIEW : 84)
โดย admin (VIEW : 91)
โดย admin (VIEW : 92)
โดย admin (VIEW : 79)
โดย admin (VIEW : 86)
โดย admin (VIEW : 80)
กำลังแสดงหน้าที่ 1/2 -> [จำนวน 16 รูปภาพ]
<< 1 2 >>